กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย
สำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดชัยนาท
หน้าหลัก
เกี่ยวกับเรา
ประวัติความเป็นมา
วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย
โครงสร้างหน่วยงาน
ผู้บริหารสำนักงานปภ.ชัยนาท
อัตรากำลังเจ้าหน้าที่ สำนักงานปภ.ชัยนาท
ยุทธศาสตร์
แผนที่สำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดชัยนาท
รายงานผลการปฏิบัติราชการประจำปี
หน่วยงานภายใน
กลุ่มงานยุทธศาสตร์และการจัดการ
ฝ่ายป้องกันและปฏิบัติการ
ฝ่ายสงเคราะห์ผู้ประสบภัย
กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
พรบ.ปภ.พ.ศ.2550
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดชัยนาท
แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ
ระเบียบกระทรวงการคลัง และคู่มือการปฏิบัติงานตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วย เงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ กรณีฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙
ระเบียบคณะกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ ว่าด้วยค่าใช้จ่ายให้แก่ อปพร.ของ อปท. พ.ศ. 2560
คู่มือหรือมาตรฐานการปฏิบัติงาน
บัญญัติการปฏิบัติราชการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2565
รายงานสถานการณ์สาธารณภัยประจำวัน
ITA
การส่งเสริมคุณธรรมและการป้องกันการทุจริตในองค์กร
แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุกจริต
OITแบบเปิดเผยข้อมูล ปี 2564
OITแบบเปิดเผยข้อมูล ปี 2565
OITแบบเปิดเผยข้อมูล ปี 2566
ข่าวประชาสัมพันธ์
ดาวน์โหลด
สรุปสาธารณภัย
นายคำรณ อิ่มเนย
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ รักษาราชการแทน หัวหน้าสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดชัยนาท
งานบริหารทั่วไป/แผนงาน
งานการเงินและบัญชี
งานพัสดุ/จัดซื้อจัดจ้าง
แผนเผชิญเหตุสาธารณภัยจังหวัด
ความปลอดภัยทางถนน
ประกาศภัยพิบัติ
หมายเลขโทรศัพท์ส่วนราชการ
ติดต่อสำนักงาน ปภ.จ.ชน.
แบบสอบถามความพึงพอใจ
ช่องทางรับฟังความคิดเห็น
Q&A
สามารถดาวน์โหลดไฟล์ PDF ประกาศเขตพื้นที่/เขตการให้ความช่วยเหลือฯ (อุทกภัย) ปี 2565 ฉบับที่ 1 ถึง ปัจจุบัน
แจ้งเหตุสาธารณภัย >>>สายด่วน 1784 <<<
แบบสำรวจความพึงพอใจผู้รับบริการจาก สนง.ปภ.จ.ชัยนาท
ประวัติความเป็นมา
ความเป็นมา ปภ.
จากนโยบายของรัฐบาลที่วางแนวทางในการปฏิรูประบบราชการ โดยดำเนินการปรับปรุงระบบการบริหารราชการแผ่นดินของส่วนราชการต่างๆ ให้เป็นระบบ ซึ่งมีการก่อตั้งหน่วยงานขึ้นใหม่ เพื่อให้เป็นหน่วยงานหลัก ในการปฎิบัติภารกิจที่เคยซ้ำซ้อนอยู่ในหน่วยงานอื่นๆ ให้เป็นระบบ เปรียบเสมือนเป็นเจ้าภาพในการดำเนินงาน เพื่อประโยชน์ของประชาชนและประเทศชาติเป็นหลัก ทั้งยังเป็นการตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างรวดเร็วยิ่งขึ้น ในส่วนของกระทรวงมหาดไทย มีหน่วยงานใหม่ถือกำเนิดขึ้นเพื่อจัดการสาธารณภัยอย่างเป็นระบบ คือ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย โดยมีภารกิจหน้าที่ในการจัดทำแผนแม่บท วางมาตรการ ส่งเสริมสนับสนุน การป้องกัน บรรเทาและฟื้นฟูจากสาธารณภัย โดยกำหนดนโยบายด้านความปลอดภัย สร้างระบบป้องกัน เตือนภัย ฟื้นฟูหลังเกิดภัย และการติดตามประเมินผล เพื่อให้หลักประกันในด้านความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
ซึ่งบุคลากรจากหน่วยงานเหล่านี้จะเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกันใจการปฏิบัติงานป้องกัน บรรเทา และฟื้นฟู ด้วยระบบการบริหารจัดการสาธารณภัยอย่างเป็นระบบ และเกิดผลสัมฤทธิ์ในการลดความสูญเสียที่เกิดขึ้น จากสาธารณภัยทุกประเภทอย่างเป็นรูปธรรม ส่วนราชการกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ประกอบด้วย
รวมถึงในส่วนภูมิภาค ได้แบ่งเขตพื้นที่การรับผิดชอบเป็น ๑๘ กลุ่มจังหวัด ได้แก่ ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต ๑-๑๘(เขต ๑ ปทุมธานี, เขต ๒ สุพรรณบุรี, เขต ๓ ปราจีนบุรี, เขต ๔ ประจวบคีรีขันธ์, เขต ๕ นครราชสีมา, เขต ๖ ขอนแก่น, เขต ๗ อุบลราชธานี, เขต ๘ กำแพงเพชร, เขต ๙ พิษณุโลก, เขต ๑๐ ลำปาง, เขต ๑๑ สุราษฎร์ธานี, เขต ๑๒ สงขลา, เขต ๑๓ อุบลราชธานี, เขต ๑๔ อุดรธานี, เขต ๑๕ เชียงราย, เขต ๑๖ ชัยนาท, เขต ๑๗ จันทบุรี, เขต ๑๘ ภูเก็ต) อีกทั้งกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ยังเตรียมความพร้อมในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยด้วยการพัฒนาทรัพยากรบุคคลโดยมี สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และวิทยาเขตต่างๆในส่วนภูมิภาค (วิทยาเขตปทุมธานี, วิทยาเขตขอนแก่น, วิทยาเขตเชียงใหม่, วิทยาเขตปราจีนบุรี, วิทยาเขตพิษณุโลก, วิทยาเขตภูเก็ต, วิทยาเขตสงขลา) เมื่อมีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เป็นหน่วยงานหลักในการจัดการสาธารณภัยอย่างเป็นระบบ ซึ่งจะเป็นศูนย์กลาง ในการพัฒนาประสิทธิภาพระบบการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เพื่อให้ประชาชนได้รับการดูแลเอาใจใส่ ให้มีความปลอดภัย และไม่ได้รับความสูญเสียด้านชีวิต และทรัพย์สินที่สืบเนื่องจากสาธารณภัย